
ระบบขนส่งมวลชนในเมืองขนาดใหญ่อย่าง กรุงเทพฯ-กรุงจากาต้า-กรุงกัวลาลัมเปอร์-กรุงมะนิลาและ สิงคโปร์ซิตี้
กรุงเทพมหานคร ประเทศไทยใช้ ระบบรถไฟฟ้าขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคทั้งระบบ เพราะกรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีประชากรมากกว่า 7 ล้านคนโดยระบบรถไฟฟ้าของไทยแบ่งออกเป็น 3 ระบบคือ
รถไฟฟ้า BTS ,รถไฟฟ้าใต้ดิน และระบบรถไฟฟ้า SARL หรือ รถไฟฟ้าขนส่งผู้โดยสารท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมืองหลวงของมาเลเซียใช้ ระบบเดินรถไฟฟ้าขนาดเบาเป็นระบบหลัก เพราะจำนวนประชากรน้อย อีกทั้งยังสามารถก่อสร้างได้อย่างรวดเร็ว มีเพียงรถไฟฟ้าเชื่องท่าอากาศยาน KLIA เท่านั้นที่เป็นระบบขนาดใหญ่
สิงคโปร์ ใช้ระบบเดินรถไฟฟ้ารางเบาเพียงอย่างเดียว เป้นระบบขนส่งมวลชนรถไฟฟ้าขนาดเล็กเหมือนมาเลเซีย คือสร้างง่ายและเสร็จไว แต่ข้อเสียคือค่าบำรุงรักษาแพงมหาศาลเหมาะกับประเทศร่ำรวยอย่างสิงคโปร์และ มาเลย์เค้า
กรุงจากาต้า เมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย ใช้ระบบรถไฟฟ้าร่วมกับรถไฟธรรมดา เป็นระบบขนส่วมวลชนขนาดใหญ่เหมาะสำหรับเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 2 ของโลกอย่าง จากาต้าแต่ด้วยระบบที่ทับซ้อนทำให้การเดินรถมักมีปัญหา และที่สำคัญยังเป็นระบบที่ค่อนข้างล้าสมัยอีกด้วย
กรุงมะนิลา เมืองหลวงของฟิลิฟปินส์ ใช้ระบบรถไฟฟ้าขนาดใหญ่ ที่มีความล้าสมัยที่สุด โดยรถไฟฟ้าดังกล่าวถือว่าเป็นรถไฟฟ้าสายแรกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ในปัจจุบันกลับไม่ได้รับการพัฒนา จึงทำให้ระบบโดยรวมยังคงทรุดโทรมมาก โดยเป็นเพียงระบบรถไฟฟ้าสายแรก และสายเดียวในกรุงมะนิลา เเละประเทศเวียดนามกำลังสร้างรถไฟฟ้า อยู่ตอนนี้ซึงถือว่าเนประเทศที่ 5ที่จะมีรถไฟฟ้าใช้ รองจากฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ มาเลเซีย เเละไทย ตามลำดับ
สรุป
เมืองที่มีระบบรถไฟฟ้าทั่วถึงมากที่สุด : สิงคโปร์
เมืองที่มีระบบรถไฟฟ้าขนาดใหญ่ที่สุด : กรุงเทพฯ
เมืองที่มีระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานนานาชาติ :
กรุงเทพฯ และ กัวลาลัมเปอร์
เมืองที่มีระบบรถไฟฟ้าล้าสมัยที่สุด : จากาต้า และ มะนิลา
และเมืองที่ยังไม่มีระบบขนส่งมวลชนรถไฟฟ้าก็คือ :
กรุงฮานอย - เวียงจันทร์-พนมเปญ-ย่างกุ้ง-บันดาเสรีเบกาวัน-และติมอร์ซิตี้
Love Attack เทศกาลความรักแบบนี้ บอกอ้อมๆให้เขารู้กัน
Chocolate Dreams สาวชั่งฝันและช็อคโกแลต กับหนุ่มหล่อ ไม่แน่คุณอาจจะได้เจอแบบนี้ก็ได้
Love You Like Crazy เพลงเพราะๆ ที่ถ้าส่งให้คนที่เรารัก โลกนี้ก็สีชมพูกันทีเดียว