การนำเลนซ์นูนไปใช้งาน

การนำเลนซ์นูนไปใช้งาน


สารกึ่งตัวนำ เป็นแหล่งของแสงหรือเป็นตัวจับแสงจะมีเลนซ์นูนสร้างติดมาในตัว ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นการอธิบายและแสดงวิธีใช้เลนซ์ภายนอกเป็นแหล่งแสงและตัวจับแสง

การนำเลนซ์นูนไปใช้งาน


แสงเดินทางด้วยความเร็ว


186,291 ไมล์/วินาที หรือ 300,000 กิโลเมตร/วินาที เมื่อแสงออกจากแหล่งกำเนิดแสงก็จะแพร่กระจายออกไปความเข้มจะเป็น อัตราส่วนผกผันต่อระยะทางยกกำลังสอง หรืออีกนัยหนึ่งถ้าระยะทางเป็น 3 ความเข้มจะเป็น 1/9 ของความเข้มเมื่อระยะทางเป็น 1 แต่เลนซ์นูน (CONVEX LENS) จะขจัดความเข้มที่ลดลงได้

การนำเลนซ์นูนไปใช้งาน


มุมของลำแสง


ที่กระจายบอกค่า เป็นเรเดียน (RADEAN) คือ เส้นผ่าศูนย์กลางของแหล่งแสง หารด้วยความยาวโฟกัสของเลนซ์ หมายความว่า เลนซ์ที่มีความยาวโฟกัสที่ยาวกว่าจะให้ำแสงที่แดงกว่า แต่เลนซ์ที่มีความยาวโฟกัสมากจะรวมแสงได้น้อยกว่าเลนซ์ที่มีความยาวโฟกัสสั้น

1 เรเดียน = 57.3 องศา วงกลมมี 360 องศา

การนำเลนซ์นูนไปใช้งาน


ถ้าวางเลนซ์


ให้อยู่ในวงกลมจุดไข่ปลาแสงทั้งหมดจะถูกรวม (Focus) ให้อยู่ในส่วนที่มีความไวที่สุดของตัวรับแสง วิธีนี้จะชนะกฎผกผันกำลังสองได้


ขอขอบคุณ ข้อมูลที่มีประโยชน์จาก เว็บไซต์ Digital Library for school net
เพื่อร่วมกันสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้บนโลกอินเตอร์เน็ต

ผู้มีบทความทางด้านวิทยาศาสตร์น่ารู้
สามารถส่งผลงานของท่านมาได้ที่ arunee@teeneemedia.com

การนำเลนซ์นูนไปใช้งาน


เครดิต :
 

ข่าวดารา ข่าวในกระแส บน Facebook อัพเดตไว เร็วทันใจ คลิกที่นี่!!
กระทู้เด็ดน่าแชร์