เปิดความหมาย โกศแปดเหลี่ยม ที่ในหลวง ร.10 พระราชทานให้ เจ้าสัววิชัย
หน้าแรกTeeNee อาหารสมอง อาหารสมอง เปิดความหมาย โกศแปดเหลี่ยม ที่ในหลวง ร.10 พระราชทานให้ เจ้าสัววิชัย
เปิดความหมาย "โกศแปดเหลี่ยม" ที่ในหลวง ร.10 พระราชทานให้ "เจ้าสัววิชัย"
อย่างที่หลายคนคงจะได้ทราบกำหนดการพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ และสวดพระอภิธรรม เจ้าสัววิชัย - นายวิชัย ศรีวัฒนประภา ประธานกรรมการ กลุ่มบริษัท คิง เพาเวอร์ ณ ศาลากวีนิรมิต (กลางน้ำ) วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร แขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปรามศัตรูพ่าย จังหวัดกรุงเทพมหานคร ประธานกรรมการ กลุ่มบริษัท คิง เพาเวอร์ ณ ศาลากวีนิรมิต (กลางน้ำ) วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร แขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปรามศัตรูพ่าย จังหวัดกรุงเทพมหานคร
และได้มีการเปิดเผยข้อมูลว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน โกศแปดเหลี่ยม ฉัตรเบญจาตั้งประดับ ปี่ กลองชนะประโคมเวลาพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ พระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมเวลากลางคืน กำหนด 3 คืน
สำหรับพระบรมโกศ หรือพระโกศ นั้น คือภาชนะเครื่องสูงที่ใส่พระบรมศพของพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศ์ กับโกศที่พระราชทานสำหรับศพข้าราชการผู้มีบรรดาศักดิ์สูง เพื่อส่งพระศพและพระวิญญาณเสด็จกลับสู่สรวงสวรรค์ ดังนั้นคำว่า ‘พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพระบรมโกศ' จึงมีความหมายว่า พระเจ้าแผ่นดินไทยที่สวรรคตไปแล้วนั่นเอง ซึ่งการใช้โกศบรรจุพระศพพระราชวงศ์ไทยเป็นธรรมเนียมทำกันมานานแล้ว แต่ไม่มีผู้ใดทราบแน่ชัดว่าเริ่มมาตั้งแต่สมัยใด ทราบเพียงว่ามีหลักฐานการใช้พระโกศในสมัยกรุงศรีอยุธยา และได้มีการแบ่งพระโกศแบ่งตามลำดับยศเอาไว้ด้วยกัน 14 ชนิด คือ
อย่างที่หลายคนคงจะได้ทราบกำหนดการพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ และสวดพระอภิธรรม เจ้าสัววิชัย - นายวิชัย ศรีวัฒนประภา ประธานกรรมการ กลุ่มบริษัท คิง เพาเวอร์ ณ ศาลากวีนิรมิต (กลางน้ำ) วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร แขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปรามศัตรูพ่าย จังหวัดกรุงเทพมหานคร ประธานกรรมการ กลุ่มบริษัท คิง เพาเวอร์ ณ ศาลากวีนิรมิต (กลางน้ำ) วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร แขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปรามศัตรูพ่าย จังหวัดกรุงเทพมหานคร
และได้มีการเปิดเผยข้อมูลว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน โกศแปดเหลี่ยม ฉัตรเบญจาตั้งประดับ ปี่ กลองชนะประโคมเวลาพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ พระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมเวลากลางคืน กำหนด 3 คืน
สำหรับพระบรมโกศ หรือพระโกศ นั้น คือภาชนะเครื่องสูงที่ใส่พระบรมศพของพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศ์ กับโกศที่พระราชทานสำหรับศพข้าราชการผู้มีบรรดาศักดิ์สูง เพื่อส่งพระศพและพระวิญญาณเสด็จกลับสู่สรวงสวรรค์ ดังนั้นคำว่า ‘พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพระบรมโกศ' จึงมีความหมายว่า พระเจ้าแผ่นดินไทยที่สวรรคตไปแล้วนั่นเอง ซึ่งการใช้โกศบรรจุพระศพพระราชวงศ์ไทยเป็นธรรมเนียมทำกันมานานแล้ว แต่ไม่มีผู้ใดทราบแน่ชัดว่าเริ่มมาตั้งแต่สมัยใด ทราบเพียงว่ามีหลักฐานการใช้พระโกศในสมัยกรุงศรีอยุธยา และได้มีการแบ่งพระโกศแบ่งตามลำดับยศเอาไว้ด้วยกัน 14 ชนิด คือ
1. พระโกศทองใหญ่
2. พระโกศทองรองทรง
3. พระโกศทองเล็ก
4. พระโกศทองน้อย
5. พระโกศกุดั่นใหญ่
6. พระโกศกุดั่นน้อย
7. พระโกศมณฑปใหญ่
8. พระโกศมณฑปน้อย
9. พระโกศไม้สิบสอง
10. พระโกศพระองค์เจ้า
11. โกศราชนิกุล
12. โกศเกราะ
13. โกศแปดเหลี่ยม
14. โกศโถ
สำหรับ พระโกศทองใหญ่ และ พระโกศทองรองทรง (นับเสมอพระโกศทองใหญ่) ใช้กับ พระมหากษัตริย์ พระอัครมเหสี พระยุพราช พระราชกุมารี และผู้ทรงโปรดเกล้าพระราชทานเป็นพิเศษ ส่วน โกศแปดเหลี่ยม ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นายวิชัย ศรีวัฒนประภานั้น มีลักษณะเป็นโกศที่ทำด้วยไม้แกะสลักลวดลายทรง 8 เหลี่ยม ฝายอดทรงมณฑป ปิดทองล่องชาด ประดับกระจกสี
สร้างในสมัย ร.1 แต่ฝีมือทำนั้นหยาบมากอาจจะด้วยเหตุที่เวลาว่างจากการจัดทัพทำศึกมีน้อย เข้าใจว่าโกศแปดเหลี่ยมนี้เก่าแก่กว่าโกศอื่นทั้งหมด ด้วยทำยอดเป็นหลังคา ที่แปลงมาจามเหมตั้ง แต่ครั้งกรุงเก่า (โกศที่เก่าแก่ที่สุด) นอกจากโกศที่สร้างในสมัยรัชกาลที่ 1 แล้ว ยังมีอีก 3 โกศที่สร้างเพิ่มในเวลาต่อมารวมเป็น 4 โกศ ลองแปดเหลี่ยมจะพระราชทานประกอบโกศหรือประกอบพระเกียรติยศ เกียรติยศข้าราชการที่ได้รับพระราชทาน ตราปฐมจุลจอมเกล้า
หรือประถมาภรณ์ช้างเผือก และ เจ้าพระยาชั้นสัญญาบัตร หรือรัฐมนตรีสั่งราชการ ที่ถึงแก่กรรม ในขณะที่ดำรงตำแหน่งหน้าที่อยู่ เจ้าจอมมารดา และท้าวนางที่มีพระโอรสธิดา ที่ทรงกรม และ ที่ไม่ทรงกรม ซึ่ง ประกอบด้วยคุณงามความดี ทั้งในราชการ และส่วนพระองค์ หม่อมห้ามของ พระบรมวงศ์ที่เป็นสะใภ้หลวง พระราชาคณะชั้นเจ้าคณะรอง (หิรัญบัฏ)
2. พระโกศทองรองทรง
3. พระโกศทองเล็ก
4. พระโกศทองน้อย
5. พระโกศกุดั่นใหญ่
6. พระโกศกุดั่นน้อย
7. พระโกศมณฑปใหญ่
8. พระโกศมณฑปน้อย
9. พระโกศไม้สิบสอง
10. พระโกศพระองค์เจ้า
11. โกศราชนิกุล
12. โกศเกราะ
13. โกศแปดเหลี่ยม
14. โกศโถ
สำหรับ พระโกศทองใหญ่ และ พระโกศทองรองทรง (นับเสมอพระโกศทองใหญ่) ใช้กับ พระมหากษัตริย์ พระอัครมเหสี พระยุพราช พระราชกุมารี และผู้ทรงโปรดเกล้าพระราชทานเป็นพิเศษ ส่วน โกศแปดเหลี่ยม ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นายวิชัย ศรีวัฒนประภานั้น มีลักษณะเป็นโกศที่ทำด้วยไม้แกะสลักลวดลายทรง 8 เหลี่ยม ฝายอดทรงมณฑป ปิดทองล่องชาด ประดับกระจกสี
สร้างในสมัย ร.1 แต่ฝีมือทำนั้นหยาบมากอาจจะด้วยเหตุที่เวลาว่างจากการจัดทัพทำศึกมีน้อย เข้าใจว่าโกศแปดเหลี่ยมนี้เก่าแก่กว่าโกศอื่นทั้งหมด ด้วยทำยอดเป็นหลังคา ที่แปลงมาจามเหมตั้ง แต่ครั้งกรุงเก่า (โกศที่เก่าแก่ที่สุด) นอกจากโกศที่สร้างในสมัยรัชกาลที่ 1 แล้ว ยังมีอีก 3 โกศที่สร้างเพิ่มในเวลาต่อมารวมเป็น 4 โกศ ลองแปดเหลี่ยมจะพระราชทานประกอบโกศหรือประกอบพระเกียรติยศ เกียรติยศข้าราชการที่ได้รับพระราชทาน ตราปฐมจุลจอมเกล้า
หรือประถมาภรณ์ช้างเผือก และ เจ้าพระยาชั้นสัญญาบัตร หรือรัฐมนตรีสั่งราชการ ที่ถึงแก่กรรม ในขณะที่ดำรงตำแหน่งหน้าที่อยู่ เจ้าจอมมารดา และท้าวนางที่มีพระโอรสธิดา ที่ทรงกรม และ ที่ไม่ทรงกรม ซึ่ง ประกอบด้วยคุณงามความดี ทั้งในราชการ และส่วนพระองค์ หม่อมห้ามของ พระบรมวงศ์ที่เป็นสะใภ้หลวง พระราชาคณะชั้นเจ้าคณะรอง (หิรัญบัฏ)
Cr:::SSBN - Thailand
เครดิต :
ข่าวดารา ข่าวในกระแส บน Facebook อัพเดตไว เร็วทันใจ คลิกที่นี่!!" ประกาศ "
ร่วมแสดงความคิดเห็น