เปิดปูมหลังปมขัดแย้ง อิสราเอลVS ปาเลสไตน์ ทะเลาะกันเรื่องอะไร?
ความขัดแย้งของ 2 ชนชาติ "อิสราเอล" และ "ปาเลสไตน์" มีมาไม่ถึงร้อยปี แต่รากของชนวนปัญหากลับก่อกำเนิดฝังลึกมายาวนานนับพันปี ที่ดูเหมือนว่าหนทางแห่งการสันติภาพคงไม่มีวันเกิดขึ้นในเร็ววัน
ยิว-เจ้าของพื้นที่เดิมอิสราเอล
ในอดีตยุคสงครามล่าอาณานิคม "อิสราเอล" เป็นพื้นที่ระหว่างกลางของการทำสงคราม "แอฟริกา-เอเชีย-ยุโรป" การสู้รบทำให้ "ชาวยิว" ที่อาศัยแต่ดั้งเดิมในอิสราเอลต้องละทิ้งถิ่นฐาน กระจายตัวเดินทางสู่หลายพื้นที่ในโลก
แต่การจากไปของชาวยิว ไม่ได้ทิ้งความว่างเปล่าไว้ในดินแดนอิสราเอล ที่นี่กลายเป็นแหล่งรวมของคนหลากหลายเชื้อชาติ ทั้งโรมัน กรีก เปอร์เซีย ต่างเข้ามาจับจองพื้นที่ สร้างอาณาเขตพื้นที่อาศัยของตนเอง และสร้างนครศักดิ์สิทธิ์ "เยรูซาเล็ม" หนึ่งในนครที่เก่าแก่ที่สุดของโลก ศูนย์รวม 3 ศาสนา "คริสต์-อิสลาม-ยูดาห์"
กำเนิดปาเลสไตน์
ช่วงต้นศตวรรษที่ 16 เยรูซาเล็มและดินแดนโดยรอบตกเป็นเมืองขึ้นของมหาจักรวรรดิออตโตมัน (ตุรกีในปัจจุบัน) และถูกตั้งชื่อใหม่เป็น "ปาเลนสไตน์" ชาวอาหรับที่อยู่ในนั้นถูกเรียกว่า "ชาวปาเลสติเนียน" กระทั่งสงครามโลกครั้งที่ 1 ช่วงปี 2457-2461 อังกฤษทำสนธิสัญญาบัลฟอร์กับชาวยิว สัญญาว่าถ้าชาวยิวช่วยอังกฤษรบจนชนะ จะยกดินแดนปาเลสไตน์ให้
และแน่นอน ประวัติศาสตร์ที่ถูกส่งต่อกันมาถึงอดีตที่เคยอยู่ในพื้นที่เดิม ทำให้ชาวยิวตั้งใจและเต็มใจช่วยรบ เพื่อหวังกลับคืนสู่บ้านเกิดที่บรรพบุรุษเคยอยู่มานานหลายพันปีแต่ในขณะเดียวกัน อังกฤษที่กลัวแพ้สงคราม ก็ทำสนธิสัญญาซ้อนอีกฉบับ แต่ทำกับชาวปาเลสติเนียน บอกว่าถ้าช่วยรบกับเยอรมัน จะคืนอิสรภาพให้ปาเลสไตน์ และสุดท้ายอังกฤษและฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะสงครามโลกครั้งที่ 1 ชาวยิวเดินทางเข้าสู่ปาเลสไตน์ ขณะที่ชาวปาเลสติเนียนที่อยู่เดิมก็เริ่มโวยวาย เพราะไม่ต้องการให้เชื้อชาติอื่นเข้ามา
ประเทศอิสราเอล
ความขัดแย้งระหว่าง 2 เชื้อชาติจึงเริ่มต้นขึ้น ยิวอ้างตัวว่าอยู่มานานหลายพันปี ปาเลสติเนียนก็อ้างว่าสร้างเมืองใหม่มาแล้วหลายร้อยปี ความขัดแย้งทวีความรุนแรงขึ้น เรื่อยยาวจนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสหประชาชาติถูกก่อตั้งขึ้น จึงถูกใช้เป็นเครื่องมือระงับข้อพิพาทของ 2 เชื้อชาตินี้ โดยที่ประชุม UN มีมติ 31:13 ในปี 2490
แบ่งปาเลสไตน์เป็น 2 ส่วน และให้เยรูซาเล็มอยู่ตรงกลาง ครอบครองร่วมกัน
พื้นที่ที่ยิวได้ไป ยิวจึงประกาศเอกราชและตั้งชื่อว่า "ประเทศอิสราเอล" เมื่อวันที่ 14 พ.ค.2491 แต่ปาเลสนิเนียนในดินแดนปาเลสไตน์ ไม่เห็นด้วยอย่างที่สุด พวกเขามองว่ายิวชุบมือเปิบ และเป็นการไม่สมควรที่นำเอาศาสนาอื่น (ยิวนับถือศาสนายูดาห์) มาไว้ท่ามกลางพื้นที่ศาสนาอิสลาม (ปาเลสไตน์ และหลายประเทศโดยรอบ ต่างนับถือศาสนาอิสลาม แม้จะคนละนิกายก็ตาม)
ยิว-เจ้าของพื้นที่เดิมอิสราเอล
ในอดีตยุคสงครามล่าอาณานิคม "อิสราเอล" เป็นพื้นที่ระหว่างกลางของการทำสงคราม "แอฟริกา-เอเชีย-ยุโรป" การสู้รบทำให้ "ชาวยิว" ที่อาศัยแต่ดั้งเดิมในอิสราเอลต้องละทิ้งถิ่นฐาน กระจายตัวเดินทางสู่หลายพื้นที่ในโลก
แต่การจากไปของชาวยิว ไม่ได้ทิ้งความว่างเปล่าไว้ในดินแดนอิสราเอล ที่นี่กลายเป็นแหล่งรวมของคนหลากหลายเชื้อชาติ ทั้งโรมัน กรีก เปอร์เซีย ต่างเข้ามาจับจองพื้นที่ สร้างอาณาเขตพื้นที่อาศัยของตนเอง และสร้างนครศักดิ์สิทธิ์ "เยรูซาเล็ม" หนึ่งในนครที่เก่าแก่ที่สุดของโลก ศูนย์รวม 3 ศาสนา "คริสต์-อิสลาม-ยูดาห์"
กำเนิดปาเลสไตน์
ช่วงต้นศตวรรษที่ 16 เยรูซาเล็มและดินแดนโดยรอบตกเป็นเมืองขึ้นของมหาจักรวรรดิออตโตมัน (ตุรกีในปัจจุบัน) และถูกตั้งชื่อใหม่เป็น "ปาเลนสไตน์" ชาวอาหรับที่อยู่ในนั้นถูกเรียกว่า "ชาวปาเลสติเนียน" กระทั่งสงครามโลกครั้งที่ 1 ช่วงปี 2457-2461 อังกฤษทำสนธิสัญญาบัลฟอร์กับชาวยิว สัญญาว่าถ้าชาวยิวช่วยอังกฤษรบจนชนะ จะยกดินแดนปาเลสไตน์ให้
และแน่นอน ประวัติศาสตร์ที่ถูกส่งต่อกันมาถึงอดีตที่เคยอยู่ในพื้นที่เดิม ทำให้ชาวยิวตั้งใจและเต็มใจช่วยรบ เพื่อหวังกลับคืนสู่บ้านเกิดที่บรรพบุรุษเคยอยู่มานานหลายพันปีแต่ในขณะเดียวกัน อังกฤษที่กลัวแพ้สงคราม ก็ทำสนธิสัญญาซ้อนอีกฉบับ แต่ทำกับชาวปาเลสติเนียน บอกว่าถ้าช่วยรบกับเยอรมัน จะคืนอิสรภาพให้ปาเลสไตน์ และสุดท้ายอังกฤษและฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะสงครามโลกครั้งที่ 1 ชาวยิวเดินทางเข้าสู่ปาเลสไตน์ ขณะที่ชาวปาเลสติเนียนที่อยู่เดิมก็เริ่มโวยวาย เพราะไม่ต้องการให้เชื้อชาติอื่นเข้ามา
ประเทศอิสราเอล
ความขัดแย้งระหว่าง 2 เชื้อชาติจึงเริ่มต้นขึ้น ยิวอ้างตัวว่าอยู่มานานหลายพันปี ปาเลสติเนียนก็อ้างว่าสร้างเมืองใหม่มาแล้วหลายร้อยปี ความขัดแย้งทวีความรุนแรงขึ้น เรื่อยยาวจนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสหประชาชาติถูกก่อตั้งขึ้น จึงถูกใช้เป็นเครื่องมือระงับข้อพิพาทของ 2 เชื้อชาตินี้ โดยที่ประชุม UN มีมติ 31:13 ในปี 2490
แบ่งปาเลสไตน์เป็น 2 ส่วน และให้เยรูซาเล็มอยู่ตรงกลาง ครอบครองร่วมกัน
พื้นที่ที่ยิวได้ไป ยิวจึงประกาศเอกราชและตั้งชื่อว่า "ประเทศอิสราเอล" เมื่อวันที่ 14 พ.ค.2491 แต่ปาเลสนิเนียนในดินแดนปาเลสไตน์ ไม่เห็นด้วยอย่างที่สุด พวกเขามองว่ายิวชุบมือเปิบ และเป็นการไม่สมควรที่นำเอาศาสนาอื่น (ยิวนับถือศาสนายูดาห์) มาไว้ท่ามกลางพื้นที่ศาสนาอิสลาม (ปาเลสไตน์ และหลายประเทศโดยรอบ ต่างนับถือศาสนาอิสลาม แม้จะคนละนิกายก็ตาม)
เวสต์แบงค์-ฉนวนกาซา
เมื่ออิสราเอลประกาศเอกราชแล้ว ย่อมหมายถึงอังกฤษไม่จำเป็นต้องดูแลอีกต่อไป อิสราเอลต้องเผชิญหน้าอย่างโดดเดี่ยวกับสงครามจากฝ่ายอิสลาม จากการรวมตัวกันหลายประเทศ อียิปต์ จอร์แดน ซีเรีย เลบานอน อิรัก ที่จับมือกับชาวปาเลสติเนียน
แม้ต้องสู้เพียงลำพัง แต่อิสราเอลกลับเอาชนะจนหลายประเทศยอมสงบศึก และอิสราเอลยังได้พื้นที่เพิ่มให้กับประเทศตนเอง และตั้งไว้เพื่อเป็นกันชนระหว่างตนกับประเทศศัตรู โดยชัยชนะครั้งนี้ อิสราเอลใช้เวลารบเพียง 6 วันเท่านั้น จนได้ชื่อว่า สงคราม 6 วัน หรือ Six-day war ในปี 2510
เวสต์แบงค์ พื้นที่ทางตะวันออก กั้นระหว่างอิสราเอลและจอร์แดน ฉนวนกาซา พื้นที่ด้านตะวันตก กั้นระหว่างอิสราเอลและอียิปต์
กำเนิด PLO
ชัยชนะของอิสราเอล ทำคนที่ไม่พอใจมากที่สุดคือ ดินแดนปาเลสไตน์ เพราะพื้นที่ที่อิสราเอลได้มา นั่นหมายถึงสัดส่วนพื้นที่ของปาเลสไตน์ที่ UN จัดสรรให้ค่อย ๆ หายไป เมื่อทำสงครามกันซึ่งหน้าแล้วไม่ชนะ ชาวปาเลสติเนียนจึงก่อตั้ง "องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ หรือ Palestine Liberation Organization : PLO" พร้อมผู้นำที่ชื่อ "ยัตสเซอร์ อาราฟัต (Yasser Arafat) พร้อมความตั้งใจใหม่คือ สู้รบแบบกองโจร ที่เน้นเข้ามาสร้างความวุ่นวายในเขตประเทศอิสราเอลนานหลายปี
แต่ก็ทำอะไรอิสราเอลไม่ได้ นอกจากเพิ่มความตึงเครียดระหว่างกันขึ้นเรื่อยๆ
จนกระทั่ง PLO มองว่าการใช้ความรุนแรงไม่ก่อให้เกิดประโยชน์และยิ่งทำให้เกิดความสูญเสีย จึงยอมลดท่าทีลงเพื่อให้ชาวปาเลสติเนียนที่เหลือยังคงมีแผ่นดินอาศัยอยู่ต่อไป
อิสราเอล-ฮามาส
ความฮึกเหิมจากชัยชนะทำให้อิสราเอลไม่ใช้วิธีสันติเพื่อการอยู่ร่วมกับปาเลสไตน์อีกต่อไป ชาวยิวในอิสราเอลเริ่มกระจายตัวไปอยู่ในพื้นที่ฉนวนกาซา และเขตเวสต์แบงค์ เพื่อค่อยๆ ไล่ที่ชาวปาเลสติเนียนที่นั่น โดยที่ฝั่งปาเลสไตน์เองก็ไม่สามารถทำอะไรได้เลย
แต่ในปี 2530-2536 ชาวอิสราเอลขับรถชนชาวปาเลสไตน์ 4 คนเสียชีวิต ทำให้เกิดการลุกฮือของประชาชนปาเลสติเนียน การประท้วงครั้งนั้นกินเวลานานถึง 6 ปี มีชาวปาเลนติเนียนเสียชีวิตเกือบ 2,000 คน และชาวยิวเสียชีวิต 277 คน นานาชาติเข้ามามีบทบาทโดยการทำข้อตกลงออสโลในปี 2536 แบ่งเขตเวสต์แบงค์เป็น 3 ส่วน และให้ปาเลสไตน์ปกครองตนเอง (เรียกเหตุการณ์นี้ว่า อินติฟาเฎาะฮ์ครั้งที่ 1 : First Intifada )
ในขณะที่หลายฝ่ายพยายามเจรจาอย่างสันติอยู่นั้น มีชาวปาเลสติเนียนหัวรุนแรงอีกกลุ่มที่มองว่า สันติภาพไม่ช่วยอะไร และกลุ่ม PLO ดูอ่อนข้อเหลือเกิน จึงสร้างกลุ่มใหม่ขึ้นมาชื่อว่า "กลุ่มฮามาส (Hamas)" เป็นกองกำลังติดอาวุธ และปฏิเสธการเจรจาอย่างสันติทุกรูปแบบ โดยส่งมือระเบิดพลีชีพเข้าไปในอิสราเอล จนทำให้สันติภาพของอิสราเอลและปาเลสไตน์สะบั้นลง
เมื่ออิสราเอลประกาศเอกราชแล้ว ย่อมหมายถึงอังกฤษไม่จำเป็นต้องดูแลอีกต่อไป อิสราเอลต้องเผชิญหน้าอย่างโดดเดี่ยวกับสงครามจากฝ่ายอิสลาม จากการรวมตัวกันหลายประเทศ อียิปต์ จอร์แดน ซีเรีย เลบานอน อิรัก ที่จับมือกับชาวปาเลสติเนียน
แม้ต้องสู้เพียงลำพัง แต่อิสราเอลกลับเอาชนะจนหลายประเทศยอมสงบศึก และอิสราเอลยังได้พื้นที่เพิ่มให้กับประเทศตนเอง และตั้งไว้เพื่อเป็นกันชนระหว่างตนกับประเทศศัตรู โดยชัยชนะครั้งนี้ อิสราเอลใช้เวลารบเพียง 6 วันเท่านั้น จนได้ชื่อว่า สงคราม 6 วัน หรือ Six-day war ในปี 2510
เวสต์แบงค์ พื้นที่ทางตะวันออก กั้นระหว่างอิสราเอลและจอร์แดน ฉนวนกาซา พื้นที่ด้านตะวันตก กั้นระหว่างอิสราเอลและอียิปต์
กำเนิด PLO
ชัยชนะของอิสราเอล ทำคนที่ไม่พอใจมากที่สุดคือ ดินแดนปาเลสไตน์ เพราะพื้นที่ที่อิสราเอลได้มา นั่นหมายถึงสัดส่วนพื้นที่ของปาเลสไตน์ที่ UN จัดสรรให้ค่อย ๆ หายไป เมื่อทำสงครามกันซึ่งหน้าแล้วไม่ชนะ ชาวปาเลสติเนียนจึงก่อตั้ง "องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ หรือ Palestine Liberation Organization : PLO" พร้อมผู้นำที่ชื่อ "ยัตสเซอร์ อาราฟัต (Yasser Arafat) พร้อมความตั้งใจใหม่คือ สู้รบแบบกองโจร ที่เน้นเข้ามาสร้างความวุ่นวายในเขตประเทศอิสราเอลนานหลายปี
แต่ก็ทำอะไรอิสราเอลไม่ได้ นอกจากเพิ่มความตึงเครียดระหว่างกันขึ้นเรื่อยๆ
จนกระทั่ง PLO มองว่าการใช้ความรุนแรงไม่ก่อให้เกิดประโยชน์และยิ่งทำให้เกิดความสูญเสีย จึงยอมลดท่าทีลงเพื่อให้ชาวปาเลสติเนียนที่เหลือยังคงมีแผ่นดินอาศัยอยู่ต่อไป
อิสราเอล-ฮามาส
ความฮึกเหิมจากชัยชนะทำให้อิสราเอลไม่ใช้วิธีสันติเพื่อการอยู่ร่วมกับปาเลสไตน์อีกต่อไป ชาวยิวในอิสราเอลเริ่มกระจายตัวไปอยู่ในพื้นที่ฉนวนกาซา และเขตเวสต์แบงค์ เพื่อค่อยๆ ไล่ที่ชาวปาเลสติเนียนที่นั่น โดยที่ฝั่งปาเลสไตน์เองก็ไม่สามารถทำอะไรได้เลย
แต่ในปี 2530-2536 ชาวอิสราเอลขับรถชนชาวปาเลสไตน์ 4 คนเสียชีวิต ทำให้เกิดการลุกฮือของประชาชนปาเลสติเนียน การประท้วงครั้งนั้นกินเวลานานถึง 6 ปี มีชาวปาเลนติเนียนเสียชีวิตเกือบ 2,000 คน และชาวยิวเสียชีวิต 277 คน นานาชาติเข้ามามีบทบาทโดยการทำข้อตกลงออสโลในปี 2536 แบ่งเขตเวสต์แบงค์เป็น 3 ส่วน และให้ปาเลสไตน์ปกครองตนเอง (เรียกเหตุการณ์นี้ว่า อินติฟาเฎาะฮ์ครั้งที่ 1 : First Intifada )
ในขณะที่หลายฝ่ายพยายามเจรจาอย่างสันติอยู่นั้น มีชาวปาเลสติเนียนหัวรุนแรงอีกกลุ่มที่มองว่า สันติภาพไม่ช่วยอะไร และกลุ่ม PLO ดูอ่อนข้อเหลือเกิน จึงสร้างกลุ่มใหม่ขึ้นมาชื่อว่า "กลุ่มฮามาส (Hamas)" เป็นกองกำลังติดอาวุธ และปฏิเสธการเจรจาอย่างสันติทุกรูปแบบ โดยส่งมือระเบิดพลีชีพเข้าไปในอิสราเอล จนทำให้สันติภาพของอิสราเอลและปาเลสไตน์สะบั้นลง
อิสราเอลยั่วยุ
อีกเหตุการณ์ที่ยิ่งสร้างความขัดแย้งคือในปี 2543-2548 ฝ่ายค้านของอิสราเอลเข้าไปยังมัสยิดในนครเยรูซาเล็ม สร้างความไม่พอใจให้ชาวมุสลิมในปาเลสไตน์อย่างมาก พวกเขามองว่านั่นคือการดูหมิ่นทางศาสนา ทำให้เกิดการปะทะกันยาวนาน 5 ปีต่อมาอีก (เรียกเหตุการณ์นี้ว่า อินติฟาเฎาะฮ์ครั้งที่ 2 : Second Intifada)
แม้จะมีเสียงคัดค้านและไม่เห็นด้วยจากนานาประเทศต่อการกระทำของอิสราเอล แต่ก็ไร้การตอบกลับใดๆ อิสราเอลยังคงเลือกใช้ความรุนแรงขับไล่ชาวปาเลสติเนียน
คู่ขัดแย้งชัดเจน อิสราเอล-ฮามาส
ขณะที่ความขัดแย้งของ 2 เชื้อชาติยังดำเนินไป ความขัดแย้งภายในปาเลสไตน์ก็ดำเนินอยู่ เมื่อกลุ่ม PLO และกลุ่มฮามาส เลือกใช้วิธีการปกครองคนในพื้นที่ด้วยการเลือกตั้ง และผลก็ออกมาว่ากลุ่มฮามาสชนะ และการประกาศกร้าวถึงความแข็งแกร่งของตนคือเข้ายึดครองพื้นที่ฉนวนกาซาได้สำเร็จ ชาวอิสราเอลต้องอพยพออกจากพื้นที่ แต่ก็ตั้งกองกำลังไว้บริเวณชายแดนฉนวนกาซา เพื่อป้องกันการลุกล้ำของกลุ่มฮามาส
หลังจากนั้น กลุ่มฮามาสก็ดำเนินการรบกับอิสราเอลมาตลอด สร้างความขัดแย้งแทนสันติภาพ อิสราเอลใช้การสร้างกำแพงกั้นบริเวณชายแดนฉนวนกาซา นั่นหมายถึงประชาชนที่อยู่ในฉนวนกาซาถูกตัดขาดจากการช่วยเหลือใดๆ ทั้งสิ้น สาธารณสุข อาหาร ยา สุขอนามัย
และแน่นอนว่าสหประชาชาติต้องยื่นมือเข้ามาช่วย โดยอ้างความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม รวมถึงองค์กรระดับโลกอีกมากมาย เช่น EU, สหรัฐฯ ก็พยายามเข้ามาพูดคุย แต่ดูเหมือนว่าเป็นการแก้ปัญหาปลายเหตุเท่านั้น เพราะต้นตอของปัญหายังคงอยู่
เครดิตแหล่งข้อมูล : thaipbs
อีกเหตุการณ์ที่ยิ่งสร้างความขัดแย้งคือในปี 2543-2548 ฝ่ายค้านของอิสราเอลเข้าไปยังมัสยิดในนครเยรูซาเล็ม สร้างความไม่พอใจให้ชาวมุสลิมในปาเลสไตน์อย่างมาก พวกเขามองว่านั่นคือการดูหมิ่นทางศาสนา ทำให้เกิดการปะทะกันยาวนาน 5 ปีต่อมาอีก (เรียกเหตุการณ์นี้ว่า อินติฟาเฎาะฮ์ครั้งที่ 2 : Second Intifada)
แม้จะมีเสียงคัดค้านและไม่เห็นด้วยจากนานาประเทศต่อการกระทำของอิสราเอล แต่ก็ไร้การตอบกลับใดๆ อิสราเอลยังคงเลือกใช้ความรุนแรงขับไล่ชาวปาเลสติเนียน
คู่ขัดแย้งชัดเจน อิสราเอล-ฮามาส
ขณะที่ความขัดแย้งของ 2 เชื้อชาติยังดำเนินไป ความขัดแย้งภายในปาเลสไตน์ก็ดำเนินอยู่ เมื่อกลุ่ม PLO และกลุ่มฮามาส เลือกใช้วิธีการปกครองคนในพื้นที่ด้วยการเลือกตั้ง และผลก็ออกมาว่ากลุ่มฮามาสชนะ และการประกาศกร้าวถึงความแข็งแกร่งของตนคือเข้ายึดครองพื้นที่ฉนวนกาซาได้สำเร็จ ชาวอิสราเอลต้องอพยพออกจากพื้นที่ แต่ก็ตั้งกองกำลังไว้บริเวณชายแดนฉนวนกาซา เพื่อป้องกันการลุกล้ำของกลุ่มฮามาส
หลังจากนั้น กลุ่มฮามาสก็ดำเนินการรบกับอิสราเอลมาตลอด สร้างความขัดแย้งแทนสันติภาพ อิสราเอลใช้การสร้างกำแพงกั้นบริเวณชายแดนฉนวนกาซา นั่นหมายถึงประชาชนที่อยู่ในฉนวนกาซาถูกตัดขาดจากการช่วยเหลือใดๆ ทั้งสิ้น สาธารณสุข อาหาร ยา สุขอนามัย
และแน่นอนว่าสหประชาชาติต้องยื่นมือเข้ามาช่วย โดยอ้างความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม รวมถึงองค์กรระดับโลกอีกมากมาย เช่น EU, สหรัฐฯ ก็พยายามเข้ามาพูดคุย แต่ดูเหมือนว่าเป็นการแก้ปัญหาปลายเหตุเท่านั้น เพราะต้นตอของปัญหายังคงอยู่
เครดิตแหล่งข้อมูล : thaipbs
เรื่องที่เกี่ยวข้อง
- ข่าวเศร้า! ตัวประกันไทยในฉนวนกาซาเสียชีวิต 2 ราย
- ยืนยัน 12 ตัวประกันไทย ได้รับการปล่อยตัวแล้ว
- กต.ชี้แจงกระแสข่าวมีแรงงานไทยไปเป็นทหารให้อิสราเอล
- กต.แจ้ง อพยพแรงงาน เหมาลำเที่ยวสุดท้ายถึงไทยแล้ว
- เศร้าชานี ลุค เหยื่อฮามาส ผลดีเอ็นเอยืนยัน เสียชีวิตแล้ว
- กต.แถลงการณ์ ต่อกรณีคนไทยถูกสังหาร อย่างไร้มนุษยธรรม
- ญาติรวมตัวหน้ากลาโหมอิสราเอล ถามหาความปลอดภัยตัวประกัน
- บรู๊ค ดนุพร วอนแรงงานในอิสราเอลกลับไทย พร้อมเผยสิ่งที่รัฐฯจะทำให้
- มากที่สุด! รัฐบาลอิสราเอลเผย 54 คนไทยถูกฮามาสจับเป็นตัวประกัน
- หนุ่มสู้ฮามาสมือเปล่า ถึงไทยแล้ว ลั่นไม่ขอไปอีก
- อิสราเอล โจมตี 320 เป้าหมายในกาซา กร้าวสุดท้ายจะไม่มีฮามาส
- แรงงานไทย 3,329 คน ถึงไทยแล้ว เหลืออีก 5,000 กว่าคนที่ต้องการกลับ
- วีดีโอคอลครั้งสุดท้ายคือสั่งลา! ลั่นขอหลบระเบิดแต่กลับถูกยิงดับ
- ‘เศรษฐา’ เผย ‘เจ้าชายซาอุฯ’ ทรงรับช่วยเหลือนำตัวประกันไทย กลับประเทศ
- วิญญาณหนุ่มแรงงานอุดรฯเฮี้ยน มาหาเมียในฝัน
- กต. ยัน 17 ตัวประกันปลอดภัย ตอบยากถูกปล่อยเร็วๆนี้หรือไม่?
- นายกฯ เสียใจคนไทยเสียชีวิตเพิ่มอีก 1 ราย ยอดพุ่ง 30 ราย
- แรงงาน 162 คน เดินทางถึงไทยแล้ว
- ไบเดน ชี้ยึดครองกาซาของอิสราเอลจะเป็นความผิดพลาดครั้งใหญ่
- อย่าหมดหวัง เศรษฐา เผยวิธีเจรจาช่วยตัวประกัน คนไทยในอิสราเอล
- เปิดจำนวนผู้เสียชีวิตล่าสุด!! คนไทยในอิสราเอง ดับเพิ่มอื้อ
- ตะวันออกกลางวุ่น! หลายประเทศลุกฮือแสดงพลังหนุน ปาเลสไตน์-ต้านอิสราเอล
- แม่ร่ำไห้ ลูกดับที่อิสราเอล วอนขอศพกลับมา อยากเห็นหน้าครั้งสุดท้าย
- หนุ่มเล่านาทีหนีตาย กลุ่มฮามาสพูดไทยล่อให้ออกไปโดนยิง
- อิสราเอล งัดภาพสยองฟ้องโลก เหยื่อถูกสังหารโหด
- UN หวั่นรุนแรง หลังอิสราเอลประกาศอพยพปชช.จากฉนวนกาซาใน24ชม.
- นายกฯแถลง รายละเอียดแผน พาคนไทยออกจากอิสราเอล
- เปิดภาพ 15 แรงงานจากอิสราเอล กลับถึงประเทศไทยแล้ว
- แถลงการณ์ร่วมสหรัฐ และ 4ชาติ ประณามฮามาส
- แรงงานไทย เล่านาทีระทึก ถูกทหารอิสราเอลไล่ยิงเจ็บ เพราะเหตุนี้?
- ข่าวเศร้า! คนไทยในอิสราเอลดับเพิ่มอีก ถูกจับเป็นตัวประกัน14ราย
- เศรษฐา พร้อมคุยมิตรประเทศเร่งช่วยตัวประกัน
- เปิดแผน พาแรงงานไทยในอิสราเอลกลับบ้าน พร้อมตอบทุกข้อสงสัย
- เปิดตัวเลขไม่เป็นทางการ รวมคนไทยเสียชีวิตล่าสุด ในอิสราเอล
- ภรรยาคนไทยในอิสราเอลเล่าทั้งนํ้าตา วินาทีสามีถูกฮามาส ยิงเจ็บสาหัส
- หนุ่มไทยเล่านาทีประจันหน้ากลุ่มฮามาส หนีพร้อมใบกะเพรา
- กองเรือสหรัฐมุ่งหน้า เมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก สนับสนุนอิสราเอล
- ทูตอิสราเอล ให้คำมั่น อิสราเอลจะปกป้องแรงงานไทย เยี่ยงคนอิสราเอล
- หนุ่มไทยเล่านาทีประจันหน้ากลุ่มฮามาส ยื้อประตูโดมหลบภัย เปิดได้ตาย
- เลิกเเซะ! พิธา เสนอ 4 ข้อ ช่วยเเรงงานไทยในอิสราเอล
- แม่แรงงานไทยถูกยิง เผยนาทีคอลหาลูก เล่าอาการเจ็บ-ได้แค่ยาพารา
- โหดร้ายมาก! ฮามาส จับคนไทยในอิสราเอลไปเป็นโล่มนุษย์!
- รมว.แรงงาน แก้ข่าวคนไทยในอิสราเอล พร้อมอัปเดตสถานการณ์ปัจจุบัน
- เก็ต ชินภัสร์ เมล์หา ‘พิธา’ ปรามไม่ใช่หน้าที่ตัวเองเรื่องอิสราเอล
- กต. เผย คนไทยเสียชีวิต 12 ศพ เจ็บ 8 โดนลักพาตัว 11
- โหดเหี้ยม!เพื่อนเล่านาที ‘เคน แรงงานไทย’ ถูกกลุ่มติดอาวุธสังหาร
- รถทัวร์เสียงแตก!ปมพิธาต่อสายคุยทูตอิสราเอล มันใช่หน้าที่มั้ย?
- พ่อแม่ร่ำไห้ หลังเห็นภาพลูกชายถูกจับเป็นตัวประกันในอิสราเอล
- นายกฯ อัปเดตคนไทยเสียชีวิตแล้ว2ราย เหตุกลุ่มฮามาสโจมตีอิสราเอล
- ไม่ทิ้งกัน! พิธา ยกหูคุยทูตอิสราเอล มอบอดีตกมธ.แรงงานช่วยคนไทย
- ทางการอิสราเอล ยังไม่สามารถยืนยัน 2 แรงงานไทยถูกลักพาตัว
- รัฐบาลออกแถลงการณ์ประณามใช้ความรุนแรงโจมตีอิสราเอล ไร้มนุษยธรรม
- อิสราเอล เจอภาวะสงคราม หลังฮามาสเปิดฉากโจมตี
- หนุ่มไทยในอิสราเอล รอดตายเพราะน้องหมาเตรียมเก็บเงินไปรับมาอยู่ด้วย
- แรงงานไทยในอิสราเอล วอนช่วย หนีตายมากับเป้ 1 ใบ แต่นายจ้างเอาไปขาย
- เผยแชทสุดท้าย หนุ่มไทย ส่งถึงเมียก่อนถูกยิง เห็นแล้วน่าเศร้ามาก
- สะเทือนใจ! เปิดคลิปสาวร้องขอชีวิตขณะกลุ่มฮามาสบุกงานเทศกาลดนตรี
- แรงงานไทย เปิดคลิประทึก นาทีฮามาสบุกยิงถล่มบริเวณที่อยู่
- รู้จัก Iron Dome ระบบอัจฉริยะสกัดขีปนาวุธหมื่นล้าน ของ อิสราเอล
- ภรรยาดาราหนุ่มชื่อดัง โพสต์ถึงประชาชนชาวไทย ในอิสราเอล
- แม้มีคนไทยเสียชีวิต!! ทีมดังไทยลีกชูธงชาติเชียร์ปาเลสไตน์
>> ดูทั้งหมด :เกาะติดสถานการณ์ อิสราเอล-กลุ่มฮามาส ประทะสะเทือนโลก
เครดิต :
ข่าวดารา ข่าวในกระแส บน Facebook อัพเดตไว เร็วทันใจ คลิกที่นี่!!